บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก เมษายน, 2020

บทที่ 2 อารยธรรมภายนอกที่มีอิทธิพลต่อไทยและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

รูปภาพ
บทที่ 2    อารยธรรมภายนอกที่มีอิทธิพลต่อไทยและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การเข้ามาของอารยธรรมอินเดียและจีนในดินแดนไทยและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้     ดินแดนไทยและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีความเจริญรุ่งเรืองมาตั้งแต่ครั้งอดีต ผู้คนในดินแดนบริเวณแถบนี้ได้มีการติดต่อชาวจีนและอินเดียมานานแล้ว ทำให้ได้รับอารยธรรมของจีนและอินเดียมาตั้งแต่ครั้งอดีตส่งผลมาถึงปัจจุบัน อารยธรรมบางอย่างนำมาใช้โดยตรง เช่น ภาษา ศาสนา อาหารบางอย่างปรับเปลี่ยนให้กับวัฒนธรรมเดิม เช่น วัฒนธรรมการดำรงชีวิต รูปแบบงานศิลปะ     อารยธรรมอินเดียและจีนได้มาในดินแดนไทยและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หลายปัจจัยด้วยกัน ดังนี้     1. การติดต่อค้าขาย   พ่อค้าชาวจีนและชาวอินเดียได้นำสินค้ามาขายในดินแดนไทยและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และได้นำวัฒนธรรมของตนเข้ามาเผยแพร่ เช่น วัฒนธรรมด้านภาษา การแต่งกาย อาหารการกิน เป็นต้น    สินค้าที่พ่อค้าชาวจีนนำมาขาย เช่น ใบชา ผ้าไหม กระดาษ เป็นต้น ส่วนสินค้าที่พ่อค้าชาวอินเดียนำมาขาย เช่น พรม ผ้า หินสี เครื่องเทศ เป็นต้น      2. การเผยแผ่ศาสนา   บริเวณภูมิภาคตะวั

บทที่ 2 พุทธประวัติ ป.5

รูปภาพ
 บทที่ 2 พุทธประวัติ ป.5   การประสูติ            พระเจ้าสุทโธทนะ (พุทธบิดา) กับพระนางสิริมหามายา (พุทธมารดา) ได้เสวยราชสมบัติครองกรุงกบิลพัสดุ์อย่างสันติสุข ในเวลาต่อมาพระนางสิริมหามายาก็ทรงพระครรภ์ เมื่อจวนจะประสูติ พระนางได้ทูลขอพระสวามีเสด็จไปประสูติพระราชบุตรที่บ้านเดิมตามธรรมเนียมพราหมณ์ที่กรุงเทวทหะ            แต่ในขณะเดินทางพระนางเกิดประชวรพระครรภ์ เจ้าชายสิทธัตถะจึงประสูติที่พระราชอุทยานลุมพินีวัน ระหว่างกรุงกบิลพัสดุ์กับกรุงเทวทหะ เมื่อวันเพ็ญ เดือน ๖                  ชีวิตในวัยเยาว์            เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะมีพระชนมายุได้ ๗ พรรษา พระเจ้าสุทโธทนะทรงมอบความสุขสำราญ รับสั่งให้ขุดสระ ๓ สระและทรงมอบพระโอรสเข้าศึกษาที่สำนักของครูวิศวามิตร แม้ว่าเจ้าชายสิทธัตถะทรงเป็นกษัตริย์ พระองค์ก็ทรงรู้จักวางตนเคารพบูชาต่อครูอาจารย์              อภิเษกสมรส            เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะมีพระชนมายุได้ ๑๖ พรรษา พระราชบิดาได้จัดอภิเษกสมรสกับพระนางยโสธราหรือพระนางพิมพาและสร้างปราสาท ๓ ฤดู เพื่อให้เจ้าชายสิทธัตถะทรงพระเกษมสำราญกับความสุขทาง โลก    

บทที่ 2 พุทธประวัติ ป.6

รูปภาพ
        บทที่ 2 พุทธประวัติ ป.6        การประสูติ            พระเจ้าสุทโธทนะ (พุทธบิดา) กับพระนางสิริมหามายา (พุทธมารดา) ได้เสวยราชสมบัติครองกรุงกบิลพัสดุ์อย่างสันติสุข ในเวลาต่อมาพระนางสิริมหามายาก็ทรงพระครรภ์ เมื่อจวนจะประสูติ พระนางได้ทูลขอพระสวามีเสด็จไปประสูติพระราชบุตรที่บ้านเดิมตามธรรมเนียมพราหมณ์ที่กรุงเทวทหะ            แต่ในขณะเดินทางพระนางเกิดประชวรพระครรภ์ เจ้าชายสิทธัตถะจึงประสูติที่พระราชอุทยานลุมพินีวัน ระหว่างกรุงกบิลพัสดุ์กับกรุงเทวทหะ เมื่อวันเพ็ญ เดือน ๖                 ชีวิตในวัยเยาว์            เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะมีพระชนมายุได้ ๗ พรรษา พระเจ้าสุทโธทนะทรงมอบความสุขสำราญ รับสั่งให้ขุดสระ ๓ สระและทรงมอบพระโอรสเข้าศึกษาที่สำนักของครูวิศวามิตร แม้ว่าเจ้าชายสิทธัตถะทรงเป็นกษัตริย์ พระองค์ก็ทรงรู้จักวางตนเคารพบูชาต่อครูอาจารย์             อภิเษกสมรส            เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะมีพระชนมายุได้ ๑๖ พรรษา พระราชบิดาได้จัดอภิเษกสมรสกับพระนางยโสธราหรือพระนางพิมพาและสร้างปราสาท ๓ ฤดู เพื่อให้เจ้าชายสิทธัตถะทรงพระเกษมสำราญกับความสุ